ประเด็น โครงการพระราชดำริฯ/เฉลิมพระเกียติ/ที่เกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์ |
เกณฑ์ |
ไตรมาส 1 |
ไตรมาส 2 |
ไตรมาส 3 |
ไตรมาส 4 |
โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทำความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ |
1. การจัดบริการสาธารณสุข |
ครบทั้ง 6 ด้าน |
|
|
|
|
2. ผู้ต้องขังได้รับการคัดกรองวัณโรค |
2.1 ผู้ต้องขังแรกรับได้รับการคัดกรองวัณโรคด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก |
100% |
|
|
|
|
2.2 ผู้ต้องขังรายเก่าได้รับการคัดกรองค้นหาวัณโรคด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก |
90% |
|
|
|
|
โครงการ "ฟันเทียม รากฟันเทียม เฉลิมพระเกียตรพระยาทสมเ็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหางคลเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา" |
1. จำนวนผู้ได้รับบริการใส่ฟันเทียมถอดได้ทั้งปากหรือเกือบทั้งปาก |
100% |
|
|
|
|
2. จำนวนผู้ได้รับบริการรากฟันเทียมรองรับฟันเทียม |
100% |
|
|
|
|
ประเด็น สุขภาพจิตและยาเสพติด |
1. ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนที่มีกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด |
ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
2. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) |
ร้อยละ 62 |
|
|
|
|
3. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ |
≤ 8.0 ต่อแสน ปชก. |
|
|
|
|
4. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีอาการทุเลาในการติดตาม 6 เดือน |
ร้อยละ 55 |
|
|
|
|
5. ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี |
ร้อยละ 90 |
|
|
|
|
6. ร้อยละการเข้าถึงของผู้พยายามฆ่าตัวตาย |
≥ ร้อยละ 60 |
|
|
|
|
7. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการดูแลต่อเนื่อง |
≥ ร้อยละ 60 |
|
|
|
|
ประเด็น มะเร็งครบวงจร |
1 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก |
≥ ร้อยละ 60 |
|
|
|
|
2. ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง |
≥ ร้อยละ 50 |
|
|
|
|
3. ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง) ได้รับการส่องกล้อง Colonoscopy |
≥ ร้อยละ 50 |
|
|
|
|
4.จำนวนการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก (HPV) ในหญิงอายุ 11 - 20 ปี |
|
|
|
|
|
ประเด็น ลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลดตาย |
1.จํานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 |
43% |
|
|
|
|
2. อำเภอที่ผ่านการประเมินเป็น อำเภอสุขภาพดี (23 อำเภอทั้งจังหวัด) |
84% |
|
|
|
|
3. อสม. มีศักยภาพในการจัดบริการปฐมภูมิขั้นพื้นฐานโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Smart อสม.) |
65% |
|
|
|
|
4.ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน |
72% |
|
|
|
|
5. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
85% |
|
|
|
|
6. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี |
40% |
|
|
|
|
7. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี |
60% |
|
|
|
|
8. อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI |
< 9% |
|
|
|
|
9. ร้อยละของการให้การรักษาผู้ป่วย STEMI ได้ตาม มาตรฐานเวลาที่กำหนด |
≥60% |
|
|
|
|
10ร้อยละผู้ป่วย STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 30 นาทีหลังได้รับการวินิจฉัย |
≥60% |
|
|
|
|
11.ร้อยละผู้ป่วย STEMI ได้รับการทำ Primary PCI ภายใน 120 นาทีหลังได้รับการวินิจฉัย |
≥60% |
|
|
|
|
12.อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke :I60-I69) |
< 7% |
|
|
|
|
13.ร้อยละผู้ป่วยไตเรื้อรัง stage 5 รายใหม่ ลดลงน้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีงบประมาณก่อน |
|
|
|
|
|
ประเด็น สถานชีวาภิบาล |
1. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีศูนย์ชีวาภิบาลในโรงพยาบาล (บูรณาการ palliative, LTC, elderly care) |
|
|
|
|
|
2.ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ |
|
|
|
|
|
3.มีบริการ Hospital at home/Home ward |
|
|
|
|
|
4.โรงพยาบาลมีคลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์คุณภาพการให้บริการ |
|
|
|
|
|
ประเด็น Digitl สุขภาพ |
1. โรงพยาบาลสังกัด สป.สธ. เป็นโรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital) |
|
|
|
|
|
2. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ยื่นขอรับรอง HAIT |
|
|
|
|
|
3.โรงพยาบาลเชื่อมโยงข้อมูล PHR และส่งต่อข้อมูลแบบ Electronics ภายใน 12 เขตสุขภาพ |
|
|
|
|
|
4.มีบริการการแพทย์ทางไกล (จำนวนครั้ง) |
|
|
|
|
|
5. ร้อยละของประชาชนมี healthID เพื่อเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล และระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ |
20% |
|
|
|
|
6. ร้อยละของเจ้าหน้าที่ กลุ่มแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัช เทคนิคการแพทย์ มี ProviderID |
100% |
|
|
|
|
ประเด็น ส่งเสริมการมีบุตร |
1. โรงพยาบาลมีคลินิกส่งเสริมการมีบุตร |
100% |
|
|
|
|
2. อัตราส่วนการตายมารดาไทย |
ไม่เกิน 17 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน |
|
|
|
|
3. ร้อยละของทารกแรกเกิดได้รับการคัดกรองโรคหายาก (IEM 40 โรค) |
95% |
|
|
|
|
4. อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน |
< 3.60 ต่อ 1,000 ทารกแรกเกิดมีชีพ |
|
|
|
|
ประเด็น นักท่องเที่ยวปลอดภัย |
การพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา (Digital Disease Surveillance: DDS) |
1. สถานพยาบาลรายงานโรคในระบบดิจิทัลเพื่อการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา (DDS) ทันเวลา |
80% |
|
|
|
|
Area Based |
National level |
การตรวจสอบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพรายงานการเงิน (หมวดสินทรัพย์-พัสดุ) |
1. หน่วยงานในสังกัดสป.สธ. ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ของการตรวจสอบรายงานการเงิน |
80% |
|
|
|
|
Regional level |
1.เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ |
90% |
|
|
|
|
2.เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการสงสัยพัฒนาการล่าช้า |
20% |
|
|
|
|
3.เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม |
90% |
|
|
|
|
4.เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน ที่คัดกรองพัฒนาการแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น |
75% |
|
|
|
|
5.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย |
86% |
|
|
|
|
6.เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ |
90% |
|
|
|
|
7.เด็กอายุ 0-5 สูงดีสมส่วน |
68% |
|
|
|
|
Province level |
1. อัตราสำเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ |
88% |
|
|
|
|
2. อัตราความครอบคลุมของการขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ |
85% |
|
|
|
|
3. ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาตระยะกลาง (Intermediate care) ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (community base) |
10% |
|
|
|
|
4.ระดับความสำเร็จของการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ |
4.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ |
5% |
|
|
|
|
4.2 ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ |
60% |
|
|
|
|
5.ร้อยละของอำเภอที่ผ่านตามเกณฑ์พัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU District) ที่กำหนด |
5.1 RDU Hospital |
|
|
|
|
|
5.2 RDU Primary Care Unit |
|
|
|
|
|
5.3 RDU Community |
|
|
|
|
|
6. (45) ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA (ผ่านเกณฑ์การประเมิน 85 คะแนนขึ้นไป) |
94% |
|
|
|
|
|